การตรวจประเมินเป็นกระบวนการหนึ่งที่ถูกระบุไว้ในข้อกำหนดของระบบบริหารเพื่อทำให้องค์กรได้มีกิจกรรมการตรวจประเมินเพื่อ
• เพื่อให้ทราบถึงสภาวะและสืบหาบ่งชี้ต้นเหตุของปัญหาในระบบบริหารคุณภาพสำหรับการปรับปรุงแก้ไข • เพื่อป้อนรายงานผลที่ถูกต้องต่อฝ่ายบริหารในเรื่องของผลการนำเอาระบบไปใช้ • เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ ISO9001 และได้การรับรองจากการตรวจโดยบุคคลที่ 3 ( CB )
ขั้นตอนกระบวนการตรวจประเมิน
การวางแผนการตรวจประเมิน |
การเตรียมการตรวจประเมิน |
การดำเนินนการตรวจประเมิน |
ประชุมทีมผู้ตรวจประเมิน |
การปิดการตรวจประเมิน |
การติดตามประสิทธิผลการแก้ไข |
ตัวอย่างการตรวจติดตามของฝ่ายผลิต
Input ปัจจัยนำเข้า | Process กระบวนการ | Output ผลของกระบวนการ |
มีการรับเข้าข้อมูลอย่างไร | การเฝ้าติดตามกระบวนการยังไง | มีการตรวจสอบและทดสอบผลิตภัณฑ์หรือไม่ |
มีการวางแผนอย่างไร | มีการกำหนดมาตรฐานวิธีการทำงานหรือไม่ | มีเกณฑ์การตรวจสอบอย่างไร |
มั่นใจได้อย่างไรวัตถุดิบมีคุณภาพในการนำไปใช้ในกระบวนการ | กำหนดวัตถุประสงค์กระบวนการไว้อย่างไร | ถ้าพบความบกพร่องของผลิตภัณฑ์จะทำอย่างไร |
มั่นใจได้อย่างไรว่าเจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้ | มีการดูแลเครื่องจักรอย่างไร | |
แบบแผนการดำเนินงานของฝ่ายผลิตตามมาตรฐาน ISO9001:2015
ตัวอย่างการตรวจติดตามของฝ่ายควบคุมคุณภาพ (QC)
มีการตรวจสอบคุณภาพสินค้าอย่างไร |
มีเอกสารข้อมูลของการตรวจสอบคุณภาพหรือไม่ |
ถ้าคุณภาพสินค้าไม่เพียงพอแก้ไขอย่างไร |
บุคลากรที่ใช้ตรวจสอบมีความรุ้ความสามารถในเรื่องที่ทำหรือไม่ |
มีการหลักฐานแสดงความพึงพอใจของลูกค้าหรือไม่ |
เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจใช้อะไรในการประเมิน |
มีการตรวจประเมินคุณภาพภายในองค์กรหรือไม่ |
มีการปรับปรุงด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่องหรือไม่ |
แบบแผนการดำเนินงานของฝ่ายควบคุมคุณภาพตามมาตรฐาน ISO9001:2015
Comments